.. ........................................................................................................................... Wednesday, November 28, 2012 11:39 AM

























 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

     ความสัมพันธ์ของนกกับสิ่งแวดล้อม    

(1)ความสัมพันธ์ของนกกับสิ่งแวดล้อม
นก เป็นทรัพยากรชีวภาพอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยให้ระบบนิเวศดำรงอยู่ได้อย่างสมดุล ซึ้งพอจะสรุปคุณค่าของนกต่อสิ่งแวดล้อมดังนี้ ช่วยผสมเกสร ช่วยกำจัดศัตรูพืช ช่วยกำจักซากสัตว์

(2)การดำรงชีวิตของนกกับสิ่งแวดล้อมที่ต่างกัน
บริเวณรอบๆบ้านเรือน แหล่งชุมนและบริเวณใกล้เคียงมีนกหลายชนิด เช่น นกเขาใหญ่(Spotted Dove) นกเอี้ยงหงอน (White-vented Myna) นกแสก (Bam Owl) เป็นต้น สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและแหล่งหากินที่เปลี่ยนแปลงไปตามความเจริญของบ้านเมือง

(3)บริเวณทุ่งหญ้า ที่ลุ่มน้ำขัง และตามหนองบึง
พื้นที่เกษตรกรรมจะมีนกอาศัยอยู่มากมายเช่นนกยางกรอกพันธุ์ชวา(Javan Pond Heron) จะเดินหากินตามที่เจิ่งน้ำ นกกระติ๊ดขี้หมู (Scaly-breasted Munia) จะหากินดอกหญ้าที่ขึ้นอยู่ตามคันนา เป็นต้น

(4)บริเวณป่าชายเลน ปากแม่น้ำ ชายหาดและท้องทะเล
บริเวณป่าชายเลนปากแม่น้ำตามแนวชายหาด จะมีนกชายเลน นานาชนิด เดินหากินอยู่อย่างคลาคล่ำ เช่น นกทะเลขาแดงธรรมดา(Common Redshank) นกหัวโตเล็กขาเหลือง (Little Ringed Plover) เป็นต้น

(5)ผลกระทบที่เกิดกับนกหากสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนไป
นกเป็นทรัพยากรชีวภาพอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมช่วยให้ระบบนิเวศอยู่ได้อย่างสมดุล การพัฒนาต่างๆที่ทำให้สภาพแวดล้อมและถิ่นอาศัยของนกต้องเปลี่ยนแปลงไปอันมีผลต่อการลดลง ของประชากรนก หากมนุษย์จะหันมาให้ความสนใจต่อการอนุรักษ์นกอย่างจริงจังไม่เพียงต่อช่วยนกให้มีชีวิตรอดเท่านั้น
มนุษย์จะได้รับผลอันคุ้มค่านี้ด้วยเนื่องจากมนุษย์และนกต่างๆก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศที่ต้องพึ่งพา
และสัมพันธ์กัน หากส่วนใดส่วนหนึ่งขาดหายไปย่อมต้องมีผลต่อส่วนที่เหลืออยู่อย่างแน่นอน.

(6)ผลกระทบที่เกิดกับการเกษตรทั้งด้านลบและด้านบวก
(เหมือนข้อ5)นกเป็นทรัพยากรชีวภาพอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมช่วยให้ระบบนิเวศอยู่ได้อย่างสมดุล การพัฒนาต่างๆที่ทำให้สภาพแวดล้อมและถิ่นอาศัยของนกต้องเปลี่ยนแปลงไปอันมีผลต่อการลดลงของประชากรนก หากมนุษย์จะหันมาให้ความสนใจต่อการอนุรักษ์นกอย่างจริงจังไม่เพียงต่อช่วยนกให้มีชีวิตรอดเท่านั้นมนุษย์จะได้รับผลอันคุ้มค่านี้ด้วย
เนื่องจากมนุษย์และนกต่างๆก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศที่ต้องพึ่งพาและสัมพันธ์กันหากส่วนใดส่วนหนึ่งขาดหายไป
ย่อมต้องมีผลต่อส่วนที่เหลืออยู่อย่างแน่นอน. (และมีเพิ่มเติมดังนี้) เช่นนกปากห่าง(Asian Open bill) ชอบกินหอยเป็นอาหารหลัก ซึ่งหอยคอยทำลายต้นข้าวให้เสียหายแต่บางครั้งก็อาจพลาดพลั้งไปเหยียบตั้นข้าวเสียหายได้เป็นต้น
แต่ผลเสียที่นกมีต่อการเกษตรกรรมนั้น น้อยนิดนักกับคุณประโยชน์ที่นกมีให้